ทำนบดินห้วยปลายฯ พระราชทาน ชุบชีวิตใหม่ชาวบ้านท่าชนะ

ข้อมูลจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ แสดงว่า ในปี พ.ศ.2552 ผู้หญิงมีโรคประจำตัวที่เป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดมากกว่าผู้ชายถึง 2 เท่า โดยมีผู้ป่วยด้วยโรคนี้รวมทั้งสิ้น 4,044,260 คน และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น นับเป็นตัวเลขที่น่าตกใจสำหรับโรคที่สามารถป้องกันได้เช่นนี้...

นพ.ปัญ เกียรติ โตพิพัตน์ อายุรแพทย์โรคหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลเวชธานี เปิดเผยถึงปัญหาโรคหัวใจและหลอดเลือดในประเทศไทยว่า ข้อมูลจากองค์การอนามัยโลก แสดงอัตราการเกิดโรคหัวใจและการเสียชีวิตจากโรคหัวใจในประเทศไทย ณ ปัจจุบัน ใกล้เคียงกับกลุ่มประเทศโลกตะวันตก หรือประเทศที่พัฒนาแล้ว ซึ่งน่าจะเกิดจากลักษณะการใช้ชีวิตในเมืองที่เร่งรีบ ขาดการออกกำลังกาย และการรับประทานอาหารที่ได้รับอิทธิพลจากชาติตะวันตก

สำหรับข้อมูล สถิติจากกระทรวงสาธาณสุขในประเทศไทยนั้น แสดงว่าโรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นสาเหตุการตายอับดับสองในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ รองจากอุบัติเหตุ โดยถ้าดูเฉพาะกลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือดเองแล้ว สาเหตุการตายอันดับหนึ่งและสองในกลุ่มนี้ใกล้เคียงกันมากคือ การเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมอง และโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตันหรือกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด

ข้อมูลจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ แสดงว่า ในปี พ.ศ.2552 ผู้หญิงมีโรคประจำตัวที่เป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดมากกว่าผู้ชายถึง 2 เท่า โดยมีผู้ป่วยด้วยโรคนี้รวมทั้งสิ้น 4,044,260 คน และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น นับเป็นตัวเลขที่น่าตกใจสำหรับโรคที่สามารถป้องกันได้เช่นนี้...

นพ.ปัญ เกียรติ โตพิพัตน์ อายุรแพทย์โรคหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลเวชธานี เปิดเผยถึงปัญหาโรคหัวใจและหลอดเลือดในประเทศไทยว่า ข้อมูลจากองค์การอนามัยโลก แสดงอัตราการเกิดโรคหัวใจและการเสียชีวิตจากโรคหัวใจในประเทศไทย ณ ปัจจุบัน ใกล้เคียงกับกลุ่มประเทศโลกตะวันตก หรือประเทศที่พัฒนาแล้ว ซึ่งน่าจะเกิดจากลักษณะการใช้ชีวิตในเมืองที่เร่งรีบ ขาดการออกกำลังกาย และการรับประทานอาหารที่ได้รับอิทธิพลจากชาติตะวันตก

สำหรับข้อมูล สถิติจากกระทรวงสาธาณสุขในประเทศไทยนั้น แสดงว่าโรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นสาเหตุการตายอับดับสองในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ รองจากอุบัติเหตุ โดยถ้าดูเฉพาะกลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือดเองแล้ว สาเหตุการตายอันดับหนึ่งและสองในกลุ่มนี้ใกล้เคียงกันมากคือ การเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมอง และโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตันหรือกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด

ข้อมูลจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ แสดงว่า ในปี พ.ศ.2552 ผู้หญิงมีโรคประจำตัวที่เป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดมากกว่าผู้ชายถึง 2 เท่า โดยมีผู้ป่วยด้วยโรคนี้รวมทั้งสิ้น 4,044,260 คน และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น นับเป็นตัวเลขที่น่าตกใจสำหรับโรคที่สามารถป้องกันได้เช่นนี้...

 
Untitled Document